Thai Econ History

Ace your homework & exams now with Quizwiz!

การค้าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับจีนเป็นอย่างไร

การค้ากับจีนดาเนินการด้วยระบบการค้าบรรณาการ "จิ้มก้อง" จิ้มก้อง - สะดวก ตรวจค้นน้อย ได้ของขวัญกลับคืน สินค้าขายได้กาไรมาก รัชกาลที่ 4 โปรดให้ยกเลิกการค้าแบบจิ้มก้อง เพราะทรงเห็นว่าไทยไม่ใช่เมืองขึ้นของจีน

การทำป่าไม้และเหมืองแร่เป็นอย่างไร

การทาป่าไม้ - อังกฤษเข้ามารับสัมปทานป่าไม้ในภาคเหนือ การทาเหมืองแร่ - มีการทาเหมืองแร่ดีบุกมาก โดยเฉพาะในภาคใต้

ปัญหาสาคัญของการขยายตัวทางด้านเกษตรกรรมคืออะไร

การที่ชาวจีนและชาติตะวันตก รวมถึงเจ้านาย ขุนนาง เป็นเจ้าของโรงสีทาให้ชาวนานถูกเอารัดเอาเปรียบในด้านรายได้ รวมถึง ปัญหาด้านกรรมสิทธิ์ที่ดินที่ชาวนามี โอกาสน้อยในการจับจองที่ดิน ต้องเช่าพื้นที่ทานาจากเจ้านายและขุนนางที่ทารายได้เป็นกอบเป็นกาจากการ จับจองสิทธิครอบครองที่ เป็นปัญหาพื้นฐานของเกษตรกรรมไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ตราบถึงปัจจุบัน

ทำไมถึงมีการยกเลิกบ่อนเบี้ย

การยกเลิกบ่อนเบี้ยเพราะเล็งเห็นว่าเป็นการพนันที่เป็นโทษแก่ราษฎรทุกชั้นแต่การยกเลิกก็มีอุปสรรคเนื่องจาก อากรบ่อนเบี้ยเป็นผลประโยชน์จานวนมหาศาลแก่รัฐ รัฐบาลจึงใช้วิธีการค่อยๆยกเลิกเพื่อไม่ให้มีผลกระทบที่ใหญ่หลวง ต่อระบบเศรษฐกิจการคลังของประเทศในทีเดียว

ปัญหาเศรษฐกิจของไทยเบื่องต้นมีอะไรบ้าง

การเกษตรกรรมยังเน้นพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลัก สินค้าส่งออกสาคัญของสยามคือข้าวเป็นหลักเท่านั้น ทาให้เมื่อเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเพาะปลูกข้าว จะส่งผล ต่อเศรษฐกิจการค้าของประเทศอย่างใหญ่หลวง ในปี 2460 ตอ่ เนื่องไปถึงปี 2463 อุทกภัยและภัยแล้งทาให้ผลผลิตตกต่า ส่งผลให้ราคาดีดตัวสูง ปริมาณข้าวที่ ใช้บริโภคภายในประเทศลดลงจนขาดแคลน รัฐบาลต้องออกประกาศห้ามการส่งออกข้าว ส่งผลให้มูลค่าการ ส่งออกลดลงอย่างรวดเร็ว เกิดภาวะขาดดุลการค้าทันที และเป็นไปต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2464-2467

อังกฤษพยายามส่งราชทูตเข้ามาเจรจากับไทยเพื่ออะไร

ขอตั้งสถานีการค้าและทาการค้าเสรีตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 แต่พบอุปสรรคด้านการสื่อสาร ทาให้ไม่สาเร็จ

การเกษตรกรรมที่สาคญั ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีอะไรบ้าง

ข้าว พริกไทย ยาสูบ อ้อย ขุดคลองสาคัญหลายสายเพื่อขยายพืแ้นที่เพาะปลูก

สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ ระหว่างกันได้สาเร็จในปี 2369 คือตอนที่ใครเข้ามา

จนกระทั่งเฮนรี่เบอร์นีเข้ามาในสมัยรัชกาลที่3

การผูกปี้ข้อมือจีนคืออะไร

ชาวจีนในสยามไม่ต้องเกณฑ์แรงงาน ในสมัยรัชกาลที่ 2 โปรดให้มีการเกณฑ์แรงงานชาวจีน กาหนดให้ทางาน 1 เดือนในเวลา 3 ปี ถ้าไม่มาเกณฑ์ให้จ่ายเงินค่าแรงงาน 1 บาท 50 สตางค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เพิ่มเงินค่าผูกปี้เป็น 1 ตาลึง 2 สลึง เมื่อจ่ายเงินแล้วจะได้รับการผูกปี้ พร้อมใบฎีกา (ใบรับรอง) ปี้คือไหมสีแดง ผูกแล้วลงประดับครั่งซึ่งแสดงเป็นตราประจาเมือง การผูกปี้ทาให้รัฐได้รายได้ ได้แรงงาน ในขณะเดียวกับก็สามารถสืบทราบจานวนของชาวจีนที่เข้ามาใช้ชีวิตและ ทามาหากินในประเทศไทยไปด้วยพร้อมๆกัน

ผลกระทบสาคัญของระบบการค้าแบบยังชีพก็คือ

ชาวสยามไม่ถนัดทาการค้า เศรษฐกิจในประเทศไม่ขยายตัว ประชาชนไม่มีแรงจูงใจทางเศรษฐกิจ ช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างชนชั้นบนกับล่างห่างกันมาก ชาวจีนและชาติอื่นๆที่เข้ามาในไทย ไม่ต้องถูกเรียกเกณฑ์แรงงาน ทาให้มีบทบาทเป็นพ่อค้า ดาเนินกิจกรรม ทางเศรษฐกิจเป็นหลักแทนที่ชาวสยาม

นโยบายสร้างชาติด้วยเศรษฐกิจ มีแนว ทางการกระตุ้นเศรษฐกิจมัประการใดอีกบ้าง

ต้องประกอบอาชีพทุกคน ผู้ใดไม่มีอาชีพต้องแจ้งแก่รัฐเพื่อให้จัดหางานให้ รัฐบาลออกคาขวัญอันลือลั่นในการส่งเสริมอุตสาหกรรมและการบริโภคภายในประเทศ คือ ไทยทา ไทยใช้ ไทยเจริญ รัฐบาลออกพระราชกฤษฎีกากาหนดอาชีพและวิชาชีพไว้สาหรับเฉพาะคยไทย ในปี 2485 รัฐบาลหาทางโอนกิจการสาคัญด้านอุตสาหกรรมของต่างชาติกลับมาเป็นของไทย เข้าครอบครองบริษัทเหมืองแร่ทองคาของฝรั่งเศสที่นราธิวาส ซื้อกิจการเดินเรือตามฝั่งทะเลไทยจากบริษัทอีสต์ เอเชียติค ซื้อโรงงานฟอกหนัง โรงกลั่นน้ามัน โรงงานทาไม้ขีด โรงงานทาเครื่องจักรายย่อย

บทบาทของพ่อค้าและชาวตะวันตกที่เคยมีมากในสมัยอยุธยาช่วงราชวงศ์สุโขทัย -ปราสาททอง เป็นอย่างไร

ยุติลงหลังจาก การก่อความไม่สงบของพวกฮอลันดาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์และการปราบปรามชาวต่างชาติครั้งใหญ่ใน สมัยสมเด็จพระเพทราชา สยามไม่ไว้วางใจชาวตะวันตก เพราะเกรงว่าจะเข้ามาหาประโยชน์และก่อความไม่สงบอีก

ปัญหาด้านการคลังของประเทศ มีอะไรบ้าง

ถือการดาเนินการคลังแบบอนุรักษ์นิยม คือ เน้นการใช้จ่ายน้อยกว่ารายรับ ไม่นิยมวิธีการจ่ายเงินด้วยการหาเงินกู้จากต่างประเทศ ไม่พึ่งพาการเงินต่างชาติ เงินได้ส่วนใหญ่ของรัฐใช้จ่ายเป็นเงินเดือนของข้าราชการเกือบ 40% รัฐบาลจาเป็นต้องหล่อเลี้ยงระบบราชการขนาดใหญ่ที่ไม่ได้มีประสิทธิภาพมาก รัฐบาลไมล่งทุนในโครงสร้างพื้นฐานไม่ใช้จ่ายลงทุนในด้านการค้า การลงทุนของรัฐไม่ได้เป็นไปเพื่อประโยชน์ด้านการค้าหรือเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

การอุตสาหกรรมที่สาคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีอะไร

ทาอุตสาหกรรมน้าตาลในแถบลุ่มแม่น้าท่าจีน นครปฐม นครชัยศรี และลุ่มแม่น้าบางประกง ฉะเชิงเทรา เจ้าของกิจการหลักเป็นเจ้านาย ขุนนางและพ่อค้าคนจีน

การธนาคารของไทยเป็นอย่างไร

ธนาคารของคนไทยเริ่มทดลองดาเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2447 โดยเรียกเดิมทีว่า "บุคคลัภย์" ต่อมาจึง เปล่ียนเป็น "ธนาคารสยามกัมมาจล" หรือธนาคารไทยพาณิชย์ในปัจจุบัน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ทรงโปรดฯให้ตั้งคลังออมสิน (2456) ขึ้นมาอีกแห่งหนึ่ง โดยมีจุดประสงค์เพื่อระดม เงินออมจากราษฎรมาเป็นทุนสารองให้แก่รัฐ (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารออมสิน)

ธนาคารต่างชาติที่เข้ามาเปิดให้บริการในสยามเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ชาวต่างชาติ คือ

ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ (2421) และธนาคาชาร์เตอร์ของอังกฤษ (2437)

สนธิสัญญาเบาริ่งทาลายระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ สรุปเป็นผลสาคัญได้อย่างไรบ้าง

ประชาชนผลิตสินค้าน้อยชนิดลง เลือกผลิตเฉพาะที่ชานาญ สิ่งที่มิได้ผลิตก็แลกเปลี่ยนซื้อขายกันในระบบตลาดเงินตรา การค้าเฟื่องฟูและขยายตัวไม่จากัดเฉพาะในหมู่ชาวจีนหรือต่างชาติ จุดสาคัญของการผลิตไม่ได้อยู่ที่กินใช้เอง แต่อยู่ที่การค้า การส่งออก มีการนาเทคโนโลยีหรือภูมิปัญญามาใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต เมืองกลายเป็นศูนย์กลางของการแลกเปลี่ยน เศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลกเชื่อมโยงกันผ่านการค้า

ระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพคือ

ประชาชนผลิตเพื่อกินใช้ ส่วนที่เหลือขายในตลาดภายในประเทศ ผลผลิตส่วนที่เหลือขายให้รัฐ ผ่านหน่วยงานคือ พระคลังสินค้า มี ข้าว ของป่า ไม้ เครื่องเทศ เป็นสินค้าสาคัญ ชาวต่างชาติไม่สามารถติดต่อซื้อขายสินค้าสาคัญต่างๆกับชาวบ้านโดยตรง พระคลังสินค้าผูกขาดการค้าที่สาคัญไว้ สร้างความร่ารวยให้แก่รัฐไทย

การเก็บภาษีประชาชนเป็นอย่างไร

ประชาชนเสียภาษีในรูปแบบของ "เจ้าภาษีนายอากร" ระบบดังกล่าวมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่ไม่แพร่หลาย มาใช้กันกว้างขวางในสมัยรัชกาลที่ 2 และมากที่สุดใน สมัยรัชกาลที่ 3 ระบบการผูดขาดภาษีทาให้รัฐบาลได้รับเงินเต็มเม็ดเต็มหน่วยมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ช่วยลด ภาระการเรียกเก็บภาษีเองจากประชาขนไปด้วย

เศรษฐกิจประเทศไทยหลังสงครามโลกเป็นอย่างไร

ประเทศไทยได้รับผลกระทบกระเทือนจากสงครามโลกครั้งที่2เกิดภาวะขาดแคลนสินค้าและการกักตุนข้าวยากหมาก แพงทุกหย่อมหญ้า ประชาชนประสบปัญหาค่าครองชีพสูง รัฐบาลจึงต้องพยายามเข้ามาแก้ไขปัญหาด้วยการดาเนิน นโยบายต่างๆ

การขยายตัวทางการเกษตรมีอะไรบ้าง

ปริมาณผลผลิตข้าวที่มาจากการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการขุดคลองใหม่ๆ และขุดลอกคลองเก่าๆในสมัยรัชกาลที่ 5-6 คลองนครเนื่องเขต คลองรังสิต คลองประเวศน์บุรีรัมย์ คลองทวีวัฒนา ประตูระบายน้าภาษีเจริญ วัน เดอร์ ไฮด์ เสนอให้มีการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่แถบภาคกลางสมัย ร.5 (ไม่ได้สร้าง) เขื่อนที่สร้างสาเร็จได้แก่ เขื่อนพระราม 6 ที่ตาบลท่าหลวง อาเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดใช้ในปี 2467

ปลายสงครามเกิดอะไรขึ้น

ปลายสงครามธนาคารต่างประเทศหลายแห่งปิดกิจการเกิดธนาคารไทยแห่งใหม่คือธนาคารกรุงเทพ

กลุ่มผู้ไม่พอใจหลวงประดิษฐ์และคณะราษฎรพยายามทาลายอานาจของกลุ่มคณะราษฎรด้วยวิธีการอะไร

พยายามทำลายอานาจของกลุ่มคณะราษฎรด้วยการให้พระยามโนปกรณ์ นิติธาดา นายกฯคนแรก (ซึ่งอยู่ฝ่ายชนชั้นสูง) ประกาศยุบสภา งดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา และออกพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทาอันเป็นคอมมิวนิสต์ขึ้นเพื่อจับกุมหลวงประดิษฐ์

พอหลวงประดิษฐ์ลี้ภัยออกจากไทย เกิดอะไรขึ้นต่อมา

พระยาพหลพลพยุหเสนาหัวหน้าคณะราษฎรทาการรัฐประหารยึดอานาจคืนจาก พระยามโนฯ จากนั้นตั้งคณะรัฐบาลชุดใหม่ และเชิญให้นายปรีดีกลับเข้ามายังประเทศไทย อย่างไรก็ดี เค้าโครง เศรษฐกิจสมุดปกเหลืองก็ไม่ได้ถูกนามาบังคับใช้แต่อย่างใด

บทที่ 7 ภายหลังใครเป็นคนริเริ่มการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ

ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองคณะราษฏรโดยนายปรีดีพนมยงค์(หลวงประดิษฐมนูธรรม) ก็ได้ริเริ่มการ ปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ แนวคิดเรื่องการปฏิรูปเศรษฐกิจสมัยนี้ สะท้อนออกมาผ่านการร่าง "เค้าโครงเศรษฐกิจของ หลวงประดิษฐมนูธรรม" หรือที่เรียกกันว่า สมุดปกเหลือง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงระบบภาษีอากรคืออะไร

ภาษีไม่รั่วไหล เก้บได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย เงินภาษีทวีจานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ราษฏรไม่ต้องเสียภาษีลักลั่น หลายครั้ง มีอัตราภาษีเสมอภาคกันหมด

การปรับปรุงระบบการคลังในสมัยการปฏิรูปประเทศมีรายละเอียดยังไงบ้าง

มีการจัดทางบประมาณแผ่นดิน กาหนดรายจ่ายแต่ละปีๆอย่างชัดเจน แยกทรัพย์สินส่วนพระองค์ออกจากทรัพย์สินของประเทศ (โดยแบ่งรายรับแผ่นดิน 15% มาเป็นของกษัตริย์ ให้พระคลังข้างที่ดูแล) มีการกาหนดเงินเดือนให้แก่ข้าราชการแทนที่เบี้ยหวัดแต่เดิมที่ให้เป็นรายปีตามพระราชอัธยาศัย

มีการยกฐานะอะไรขึ้นเพื่อเป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ

มีการยกฐานะหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้นเป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติมีอานาจใหญ่หลวงในการควบคุมตรวจตราการ จ่ายและรักษาเงินแผ่นดิน ตลอดจนราชสมบัติพัสดุทั้งปวง

การปรับปรุงระบบภาษีอากรในสมัยการปฏิรูปประเทศมีรายละเอียด อย่างไร

ยกเลิกระบบกินเมือง ให้มีข้าหลวงคลังไปประจามณฑล มีหน้าที่เก็บภาษี ยกเลิกระบบเจ้าภาษีนายอากร เปลี่ยนมาเป็นการเก็บภาษีโดยตรงแทน วางพิกัดอัตราภาษีที่เรียกเก็บให้เสมอภาคกันทั่วทุกมณฑลทั้งประเทศ ภาษีที่หยุมหยิมและล้าสมัยก็มีการยกเลิก ไม่ต้องจัดเก็บ

เศรษฐกิจไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นแรกตั้งยังคงเป็นแบบ

ยังชีพ เหมือนยุคก่อนหน้า

แต่ละรัชกาลมีการทำอะไรเพื่อการเกษตรบ้าง

ร.1 คลองบางลาพู คลองหลอด คลองโอ่งอ่าง คลองมหานาค ร.2 คลองลัดเมือง ร.3 คลองบางขุนเทียน คลองด่าน คลองสาโรง คลองแสนแสบ ร.4 คลองผดุงกรุงเกษม คลองมหาสวัสดิ์ คลองภาษีเจริญ คลองดาเนินสะดวก

รัชกาลที่ 5 บูรณะการคมนาคมอย่างไรบ้าง

ร.5 ตัดถนนคือถนนเยาวราชถนนราชดาเนินกลางถนนราชดาเนินนอกถนนบูรพาถนนอุณากรรมถนน ดินสอ ร.5 สร้างสะพานข้ามคลองต่างๆเช่นสะพานผ่านพิภพลีลาผ่านฟ้าลีลาศมัฆวานรังสรรค์เทวกรรมรังรักษ์ และสะพานตระกูล "เฉลิม" (ที่มีจะมีตัวเลขลงท้ายเป็นพระชนมายุ) เช่น เฉลิมศรี 42 เฉลิมหล้า 56 ร.5 สร้างทางรถไฟโดยกู้ยืมเงินมาจากตลาดเงินกรุงลอนดอนและปารีสแรกกู้1 ล้านปอนด์ต่อมากู้อีก3 ล้าน (สร้างสายเหนือและสายใต้) ต่อมากู้จากสหพันธรัฐมลายูของอังกฤษอีก 4 ล้าน (สร้างต่อสายใต้ไปจรด มลายู) 2433 เริ่มสร้างเส้นทางรถไฟ กรุงเทพฯ-นครราชสีมา 2439 เปิดเดินรถครั้งแรก เส้นทาง กรุงเทพฯ-อยุธยา 2442 เริ่มสร้างทางรถไฟสายใต้ กรุงเทพฯ-เพชรบุรี 2448 เริ่มสร้างทางรถไฟสายตะวันออก กรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา เส้นทางรถไฟสายแรกที่เปิดเดินรถ เป็นของเอกชนรับสัมปทานไปดาเนินการคือ สายกรุงเทพฯ- สมุทรปราการ (ปากน้า) เปิดเดินรถได้ตั้งแต่ปี 2436 (ก่อนเปิดอยุธยาตั้ง 3 ปี)

การสื่อสารเป็นอย่างไร

ร.5 ตั้งกรมไปรษณีย์ และกรมโทรเลข (2426) กรมไปรษณีย์และโทรเลข รวมกันเป็นกรมไปรษณีย์โทรเลข ปี 2441 ร.6 ตั้งสถานีวิทยุโทรเลขขึ้นที่ศาลาแดง และที่สงขลา ต่อมาสถานีวิทยุโทรเลขดังกล่าวโอนไปขึ้นตรงต่อกรมไปรษณีย์โทรเลข

รัชกาลที่ 6 บูรณะการคมนาคมอย่างไรบ้าง

ร.6 ตั้งกรมรถไฟหลวงในปี 2460 เพื่อขยายกิจการรถไฟไทยให้ก้าวหน้า มีการสร้างสถานีหัวลาโพงให้เป็นชุม ทางใหญ่ มีการเจาะอุโมงค์ลอดเขาขุนตาล มีการขยายทางรถไฟ ใต้ไปถึงมลายู ตะวันออกไปถึงอรัญประเทศ ตะวันออกเฉียงเหนือไปถึงอุบลราชธานีและขอนแก่น ร.6 ตั้งกรมอากาศยาน และสร้างสนามบินดอนเมือง

การปฏิรูประบบการเงินการคลังและปัญหาเศรษฐกิจในสมัยปฏิรูป รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปแผ่นดินอย่างไร

รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปแผ่นดินด้วยการรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง (ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์) มีรายละเอียดการ เปลี่ยนแปลงที่สาคัญในระยะเริ่มแรกสุด ดังนี้ ทรงตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ มีหน้าที่เก็บรวบรวมภาษีของทั้งประเทศไว้ที่เดียว ยกเลิกการจ่ายเบี้ยหวัดและเงินปี ให้มีการจ่ายเป็นเงินเดือนแก่ข้าราชการแทน ทรงค่อยๆยกเลิกระบบกินเมือง ของพวกเจ้าเมืองต่างๆที่มีอานาจในการเก็บภาษีและเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ จากหัวเมืองที่ตนเองได้รับมอบอานาจให้ไปปกครอง

รัชกาลที่ 5 ช่วยอะไรเกี่ยวกับการธุรกิจและพาณิชย์บ้าง

รัชกาลที่ 5 โปรดฯให้กาหนดหน่วยเงินสตางค์ ผลิตเหรียญสตางค์ และผลิตธนบัตรออกใช้ เงินหน่วยย่อยอื่นๆ ถูกแทนที่ด้วยเงินบาทและสตางค์จนหมด รัชกาลที่ 5 ในปี 2451 โปรดฯให้ตราพระราชบัญญัติมาตรฐานทองคาและจัดตั้งเงินทุนสารองระหว่างประเทศ ขึ้นเพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยน ทาให้ระบบการเงินของไทยเข้าไปอยู่ในระบบมาตรฐานทองคา เป็นการ รับประกันเสถียรภาพของค่าเงิน สร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ระบบเศรษฐกิจการค้าของประเทศ

การแก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำของรัชกาลที่ 7 คืออะไร

รัชกาลที่ 7 ทรงมีความพยายามหลายประการในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ กล่าวคือ ทรงตัดทอนรายจ่ายในราชสานัก ลดจานวนข้าราชบริพาร ลดเงินปีที่ถวายพระองค์ลง ดุลข้าราชการออกจากราชการก่อนกาหนด จ่ายเป็นเบี้ยหวัดบานาญแล้วให้ออกจากราชการ ยุบรวม หรือยกเลิกหน่วยงานราชการบางส่วน เพื่อลดขนาดขององค์กรราชการทั้งหมดลง เป็นการ ประหยัดรายจ่าย เช่น ยุบเลิกกรมศิลปากร กรมราชทัณฑ์ รวมกระทรวงคมนาคมกับกระทรวง พาณิชย์เข้าไว้ด้วยกัน สนับสนุนการพัฒนาประเทศ เน้นหนักทางเศรษฐกิจมากขึ้น

แนวคิดของสมุดปกเหลืองคืออะไร

รัฐบาลกาหนดให้บุคคลอายุ 18-55 ปีเป็นข้าราชการที่รัฐจ้างงานไว้ใช้ตามความสามารถ รัฐบาลจ่ายเงินเดือนให้แก่ราษฎรผู้ที่รัฐจ้างงานไว้ใช้นั้นทุกคน รัฐมุ่งเน้นการพัฒนากสิกรรมมากกว่าอุตสาหกรรม รัฐบาลกาหนดให้ที่ดินทั้งหมดในประเทศเป็นของรัฐ มุ่งเน้นการเกษตรที่ใช้เครื่องจักรมากกว่าแรงงาน เพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น มีการกาหนดให้กู้เงินจากภายในแลภายนอกประเทศ และใช้ระบบสหกรณ์โดยรัฐ จัดต้ัง สภาจัดวางแผนเสรษฐกิจแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ มีการจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมโดยรัฐ มีการจัดตั้งธนาคารแห่งชาติขึ้น

รัฐบาลจัดตั้งกระทรวงอุตสาหกรรม ขึ้นเพื่ออะไร

รัฐบาลจัดตั้ง กระทรวงอุตสาหกรรม ขึ้นเพื่อดูแลและพัฒนาส่งเสริมการอุตสาหกรรมภายในประเทศ

รัฐบาลไทยแก้ปัญหาเงินเฟ้ออย่างไร

รัฐบาลแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อด้วยการเรียกเก็บภาษีเพิ่มขึ้นจากเดิมเรียกว่าภาษีช่วยชาติยามคับขันเช่นภาษีเงินได้ภาษี น้าตาล

ปัญหาเศรษฐกิจในัชกาลที่ 6 เป็นอย่างไร

รายจ่ายสาคัญในสมัยรัชกาลที่ 6 มีมาก และมุ่งไปในทางที่มิได้ส่งเสริมให้เกิดความรุดหน้าทางเศรษฐกิจ เช่น การอุดหนุนกองเสือป่า การละคร ดุสิตธานี ด้วยเหตุนี้ เมื่อเกิดวิกฤตการณ์ด้านการผลิต ประเทศไทยจึง ประสบปัญหาอย่างใหญ่หลวงและไม่สามารถส่งออกสินค้าอื่นใดชดเชยการค้าข้าวได้ รัชกาลที่ 6 ทรงวิตกและพยายามแก้ไขปัญหาการคลังของประเทศด้วยการจัดตั้ง สภาการคลัง ในปี พ.ศ. 2465

สาระสำคัญของสัญญ่เบาริ่งคืออะไร

สยามตกลงยกเลิกการค้าผูกขาดทุกชนิด ยกเลิกการเก็บภาษีปากเรือ ให้เก็บเป็นร้อยชักสาม หรือร้อยละ 3 ของมูลค่าสินค้าค่าเข้าแทนที่ อนุญาตให้ข้าวเป็นสินค้าออกได้ อนุญาตให้อังกฤษนาฝิ่นเข้ามาขายให้แก่เจ้าภาษีฝิ่นได้ ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ชาวอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษขึ้นศาลกงสุลของชาติตนเองหากเกิดคดี ความระหว่างกัน แต่ถ้าเกิดความพิพาทระหว่างคนสยามกับอังกฤษ ก็ให้ร่วมกันตัดสิน ฝ่ายใดผิด ก็ให้ลงโทษ ด้วยบทลงโทษตามกฎหมายของชาตินั้นๆ สนสัญญาฉบับนี้ไม่มีกาหนดอายุสิ้นสุดของสัญญา ทาให้ยากแก่การยกเลิก

สนธิสัญญาเบอร์นีทาให้ไทยเปิดการค้าเสรีบางส่วนกับอังกฤษ แต่อังกฤษก็ยังไม่พอใจเท่าที่ควรกับผลลัพธ์ของ การเจรจา เพราะอะไร

สยามไม่ขายข้าวให้อังกฤษอย่างเสรี ยังมีการผูกขาดการค้าข้าวอยู่ สยามบังคับใช้กฎหมายสยามกับคนอังกฤษ

การคมนาคมเบื้องต้นและในรัชกาลที่ 4 เป็นอย่างไร

เมื่อเมืองขยายตัวและต้องรองรับการค้า ตลอดจนชาวต่างชาติมากขึ้น สยามจึงเริ่มมีการพัฒนาระบบการ คมนาคมขนส่ง ดังนี้ ร.4 ตัดถนน คือ ถนนเจริญกรุง บารุงเมือง เฟื่องนคร สีลม พระราม 4

การธุรกิจและพาณิยช์เบื่องต้น และในตอนต้นมีอะไรบ้าง

เศรษฐกิจแบบเงินตราขยายตัวมาก เงินพดด้วงบาทเดิมไม่พอใช้ ต้องมีการผลิตเงินเหรียญขึ้นมาใช้ รัชกาลที่ 4 โปรดฯให้ตั้งโรงกษาปณ์สิทธิการขึ้นเพื่อผลิตเหรียญมาใช้แทนพดด้วง

รัฐบาลจึงต้องพยายามเข้ามาแก้ไขปัญหาด้วยการดาเนิน นโยบายต่างๆ มีอะไรบ้าง

ส่งเสริมการทาสวนครัว เลี้บงสัตว์ และอุตสาหกรรมพื้นเมืองในครัวเรือน ออกพระราชบัญญัติป้องกันการค้ากาไรเกินควร ปี 2483 ออกพระราชกฤษฎีกาควบคุมเครื่องอุปโภคบริโภคให้เพียงพอแก่ความต้องการ ปี 2484 กาหนดให้มีการปันส่วนสินค้า 3 ชนิด คือ น้าตาลทรายขาว ไม้ขีดไฟ น้ามันก๊าด (การปันส่วนคือ การแจกคูปองอนุญาตให้ซื้อ ไม่มีคูปองซื้อไม่ได้ ซื้อเกินจานวนคูปองก็ไม่ได้) ต่อมาเมื่อการแก้ไขปัญหาราคาสินคา้และการกักคุนสินค้ายังไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรอีก รัฐบาลจึงออก พระราชบัญญัติมอบอานาจในภาวะคับขัน เพิ่มโทษผู้ฝ่าฝืนสูงสุดประหารชีวิต แต่การแก้ไขปัญหาราคาสินค้าจากความขาดแคลนก็ยังไม่สาเร็จ เศรษฐกิจยังคงฝืดเคืองอย่างยิ่ง

เศรษฐกิตแบบชาตินิยม จอมพลแปลก พิบูลสงครามเข้าดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี มีนโยบายสร้างชาติด้วยเศรษฐกิจ มีแนวทางอย่างไร

อบรมกานนั ผู้ใหญ่บ้าน ประสานงานกับกระทรวงมหาดไทย แนะนาลูกบ้านให้ทาสวนครัว ปลูกผัก ผลไม้ เลี้ยง หมู เป็ด ไก่ ขุดบ่อเลี้ยงปลา สนับสนุนอุตสาหกรรมพื้นเมืองทุกชนิด มีการอบรมวิชาค้าขายให้แก่คยไทย จัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพื่อผลิตผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเกษตรกรรม กาหนดให้มี พระราชบัญญัติจัดหางานให้ผู้ไร้อาชีพ กาหนดว่าผู้ที่ อายุต่ากว่า 50 ปีบริบูรณ์ พ้นจากการศึกษา ไม่เป็นพระภิกษุสามเณร มีร่างกายสมประกอบ

ทำไมการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของรัชกาลที่ 7 ถึงยังไม่ดีพอ

อย่างไรก็ดี การแก้ไขปัญหาในสมัยรัชกาลที่ 7 ก็ยังคงไม่ประสบผลสาเร็จดีเท่าที่ควร และการลดทอนรายจ่าย ในภาคราชการลงก็ทาให้หมู่ข้าราชการใหญ่น้อยไม่พอใจ ส่งผลให้เกิดภาวะว่างงาน ข้าวยากหมากแพง เศรษฐกิจฝืดเคืองในประเทศอย่างใหญ่หลวง กลุ่มผู้ที่ไม่พึงพอใจต่อการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจของรัฐบาล ต่อมาก็รวมตัวกัน และจุดเป็นชนวนที่นาไปสู่การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในท้ายที่สุด

เงินส่วย คืออะไร

เงินส่วยหรือเงินค่าราชการ เป็นเงินที่ไพร่จ่ายแทนการเกณฑ์แรงงาน โดยปกติ ไพร่จะต้องเข้าเกณฑ์แรงงาน 3-6 เดือน ไพร่ที่ไม่เข้าเวรแรงงาน จ่ายส่วนเป็นสิ่งของที่มีมูลค่าหรือเงินแทนได ้ ของที่มีค่าก็เช่น ดีบุก ไม้ฝาง พริกไทย ฯลฯ ถ้าจ่ายเป็นเงิน ในสมัยรัชกาลที่ 3 กาหนดไว้ที่ 18 บาทต่อปี (ตกเดือนละ 6 บาท) ทาสไม่ต้องเข้าเวรเกณฑ์แรงงาน โดยให้นายทาสจ่ายเงินส่วนแทนคนละ 5 บาทต่อปี

เจ้าภาษีที่เก็บภาษีอากรคือใคร

เจ้าภาษีคือนายหน้าเอกชน หรือขุนนางที่ได้รับมอบอานาจให้เก็บภาษีแทนรัฐ เจ้าภาษีพวกนี้ประมูลจ่ายเงินค่าสัมปทานให้แก่รัฐเป็นก้อน จากนั้นก็ได้รับอนุญาตให้ไปเรียเก็บภาษีจาก ประชาชนหรือกิจการตามที่ตนเองได้รับอนุญาตต่อไปเอง

บทที่ 6เซอร์จอห์นเบาริ่งมาสยามเพื่ออะไร

เซอร์จอห์นเบาริ่งเข้ามาสยามในสมัยรัชกาลที่4เพื่อเจรจาแก้ไขสนธิสัญญาเบอร์นี่มีจุดมุ่งหมายต้องการให้สยามเปิด ประเทศอย่างเสรี ยกเลิกการผูกขาดทุกชนิด ทาสาเร็จในปี พ.ศ.2398

การจัดตั้งสหกรณ์ครั้งแรกเป็นอย่างไร

ในปี 2469 พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจารัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ทรงตั้งสหกรณ์วัดจันทร์ ไม่จากัดสินใช้ที่จังหวัด พิษณุโลกขึ้นเพื่อส่งเสริมความร่วมมือกันทางการเงินและเกษตรกรรมในหมู่ประชาชน ต่อมาได้ขยายตัวไปยัง จังหวัดอื่นๆ

ใจความหลักของสนธิสัญญาเบอร์นีคืออะไร

ให้มีการค้าเสรีระหว่างกันระหว่างพ่อค้าไทยและพ่อค้าอังกฤษ แต่สยามจะไม่อนุญาตให้มีการซื้อข้าวส่งออกนอกประเทศ กระสุนปืน ดินปืน ปืน ถ้าอังกฤษจะนามาขาย ต้องขายให้รัฐบาลเท่านั้น การเก็บภาษีทาเป็นอัตราเดียวด้วยการวัดความกว้างของปากเรือ เรือมีสินคา้ เก็บวาละ 1700 บาท เรือเปล่าเก็บ 1500 บาท อังกฤษต้องทอดสมอเรือคอยที่ปากน้าก่อน เจ้าพนักงานสยามมีสิทธิตรวจเรือสินค้า และต้องปลดอาวุธเรืออังกฤษก่อน พ่อค้าอังกฤษ ผู้บังคับการเรือตลอดจนลูกเรือและคนในบังคับอังกฤษจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายของ สยามทุกประการ

แนวคิดที่สะท้อนออกมาในสมุดปกเหลืองได้รับการต่อต้านอย่างหนักจากใคร เพราะอะไร

ได้รับการต่อต้านอย่างหนักจากชนชั้นสูงเนื่องจากเห็นว่าการริบสิทธิในการ ถือครองที่ดิน เป็นการล้มล้างชนชั้นนายทุนและชนชั้นสูงในสังคม แบบเดียวกับคอมมิวนิสต์ (ซึ่งแท้จริงแล้ว แนวคิดของ หลวงประดิษฐ์เป็นแบบสังคมนิยมเสียมากกว่า)

ภาวะนี้ส่งผลยังไงต่อค่าเงินไทย

ไทยถูกบีบให้ลดค่าเงินบาทและเกิดภาวะเงินเฟ้อเนื่องจากญี่ปุ่นกู้เงินไทยให้ไทยพิมพ์แบงค์ให้ใช้ขณะที่กองทัพญี่ปุ่น ตั้งฐานที่มั่นอยู่ในไทย ทาให้ราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้นจากปริมาณาเงินที่ไหลเวียนอย่างมาก


Related study sets

Motivation, emotion & personality - quiz 1

View Set

Chapter 45 Care of Critically Ill Patients with Neurologic Problems

View Set

Sem 3 - Unit 2 - Cellular Regulation - NCO

View Set

NURS113 Exam 3: STI's and Contraception

View Set

Physiology of Electrolyte Balance

View Set

Accounting Principles 1 Chap. 4 Review

View Set

Chapter 2: Financial Markets and Institutions

View Set